ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

เรื่องเตียงเป็นเรื่องที่เขากำหนด เตียงผู้ป่วยมาตรฐานที่คุรุเเพทย์กำหนด

 โดยทั้วไปเเล้วคนเราไม่ค่อยจะให้เรื่องความสำคัญเกี่ยวกับเรื่องเตียงผู้ป่วยมากหนัก เพราะเป็นเรื่องของทางโรงพยาบาลที่เขาได้กำหนดเรื่องเตียงให้เราอยู่เเล้วว่าเตียงผู้ป่วยเเต่ละเตียงนั้นเขาต้องมีมาตรฐานเท่าไหร่ 
  อย่างบทความนี้ผมจะเขียนว่ามาตรฐานที่ทางโรงพยาบาลนั้นกำหนดจะต้องเป็นลักษณะเตียงอย่างไร   ซึ่งทางคุรุภัณฑ์ทางการเเพทย์นั้นได้กำหนดว่าเตียงผู้ป่วยดังนี้
  ข้อกำหนดด้านความปลอดภัย (Safety)

เตียงผู้ป่วยจัดเป็นครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ซึ่งมีการออกแบบเป็นพิเศษเพื่อให้ผู้ป่วยฟักฟื้น และเคลื่นย้ายผู้ป่วยระหว่างการรักษา ซึ่งหากมีข้อบกพร่องอาจส่งผลเสียต่อผู้ป่วยได้ ในปี 2002  มีรายงานจานวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุที่มีอวัยวะติดในส่วนประกอบของเตียงของประเทศสหรัฐอเมริกามีสูงถึง 116 ราย จึงต้องพิจารณาประเด็นหลักด้านความปลอดภัย 3 ประเด็น ได้แก่ ความแข็งแรงของเตียง (วัสดุที่ใช้ผลิตและโครงสร้างของเตียง) ขนาดที่เหมาะสมกับผู้ป่วย และโอกาสในการเกิดอุบัติเหตุกับร่างกายผู้ป่วย  (อาทิ การตกเตียง หรือมีอวัยวะติดในช่องว่างของเตียง)

ดังนั้น การออกแบบเตียงจึงพิจารณาถึงอวัยวะของผู้ป่วยและส่วนประกอบของเตียงที่มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุได้บ่อยขนาดเตียงต้องได้มาตรฐาน และผ่านการทดสอบน้าหนักสูงสุดที่สามารถรองรับได้  ดังนั้น เตียงผู้ป่วยจะต้องมีการควบคุมการผลิตหรือนาเข้าจากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) 
1. เตียงผู้ป่วย ต้องเป็นไปตามมาตรฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ 
   1.1 IEC 60601-2-38 Medical electrical equipment - Part 2: Particular requirements for the safety of electrically operated hospital beds 
   1.2 IEC 60601-2-52 Medical electrical equipment - Part 2-52: Particular requirements for basic safety and essential performance of medical beds 
   1.3 ข้อแนะนาขององค์การอาหารและยา FDA (2006)

ทั้งนี้เตียงผู้ป่วยไฟฟ้ำ ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน UL 60601-1 Medical electrical equipment – Part 1: General requirements for safety ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 
2. ขนาดของเตียง มีความกว้าง 90–130 เซนติเมตร ความยาวขั้นต่า 200 เซนติเมตร และสูงจากพื้นถึงพื้นเตียง 25–40 เซนติเมตร 
3. ควำมสูงและควำมยำวของรำวกั้นเตียง ควรมีขนาดได้มาตรฐานตามตารางที่ 1 
4. โครงสร้างของเตียง วัสดุที่ใช้ผลิตต้องมีความแข็งแรง ไร้สนิม การออกแบบโครงสร้างต้องผ่านการทดสอบความสามารถในการรับน้าหนัก และระบุน้าหนักสูงสุดที่เตียงสามารถรับได้ อาทิ 200 กิโลกรัม 
5. วัสดุที่ใช้ผลิต เตียงประกอบด้วยหลายชิ้นส่วน เตียง 1 หลังอาจใช้วัสดุหลายชนิด ได้แก่ เหล็ก อลูมิเนียม สแตนเลส พลาสติกABS (Acrylonitrile-butadiene-styrene) และไม้ ทั้งนี้ ต้องมีความทนทาน ปราศจากสนิม ง่ายต่อการทาความสะอาด ดูแลรักษา และทาให้ปราศจากเชื้อ 
6. ออกแบบโดยคำนึงถึงอวัยวะที่มีโอกำสเกิดอุบัติเหตุบ่อย  การออกแบบเตียงนั้นจาเป็นต้องให้ความระมัดระวังต่อการเกิดอันตรายต่อร่างกายของผู้ป่วย ซึ่งร่างกายส่วนที่เกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้งคือ ศรีษะ คอ และลาตัว จึงได้มีการกาหนดมาตรฐานเพิ่มใน IEC 60601-2-38 
   6.1 การลดอุบัติเหตุที่เกิดกับส่วนศรีษะ ช่องว่างต่างๆ ของเตียงไม่ควรมีขนาดใหญ่หรือกว้างพอที่ศรีษะจะเข้าไปติดได้  แนะนาควรใช้ขนาดความกว้างน้อยกว่า12 เซนติเมตร ทั้งนี้ ต้องอ้างอิงจากข้อมูลของประชากรส่วนใหญ่ 
   6.2 การลดอุบัติเหตุที่เกิดกับส่วนคอ ช่องว่างต่างๆ ของเตียงไม่ควรทาให้คอติดได้ แนะนาให้มีขนาดความกว้างของช่องว่างน้อยกว่า 6เซนติเมตร 
   6.3 มุมของราวกั้นเตียง กรณีมีลักษณะเป็นตัววี ควรออกแบบให้มุมของราวกั้นเตียงกับฟูกมีองศามากกว่า60 องศา (รูปที่ 4) 
   6.4 การลดอุบัติเหตุที่เกิดกับส่วนหน้าอก เพื่อไม่ทาให้ลาตัวติดระหว่างราวกั้นเตียง ควรใช้ขนาดความกว้างน้อยกว่า31.8 เซนติเมตร


7. ออกแบบโดยคำนึงถึงส่วนประกอบของเตียงที่มีโอกำสเกิดอุบัติเหตุบ่อยซึ่งมี 7 ส่วนแสดงในรูปที่ 5



   7.1 ช่องว่างราวกั้นเตียงควรออกแบบให้ช่องว่างในราวกั้นเตียง กว้างน้อยกว่า 12 เซนติเมตร เพื่อให้มีขนาดเล็กเพียงพอที่จะปัองกันไม่ให้ศรีษะของผู้ป่วยติด 
   7.2 ช่องว่างใต้ราวกั้นเตียง หมายถึง ช่องว่างระหว่างใต้ราวกั้นเตียงกับฟูกควรมีความกว้างน้อยกว่า 12 เซนติเมตรเพื่อป้องกันอุบัติเหตุในส่วนคอที่อาจเข้าไปติดได้ ทั้งนี้ ขึ้นกับความหนาของฟูกซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามระยะเวลาการใช้งาน 
   7.3 ช่องว่างระหว่างราวกั้นเตียงกับฟูก หมายถึง ช่องว่างราวกั้นเตียงด้านในกับฟูกช่องว่างนี้ควรเล็กเพียงพอที่จะป้องกันไม่ให้ศรีษะของผู้ป่วยไปติด ควรมีความกว้างน้อยกว่า 12 เซนติเมตร 
   7.4 ช่องใต้ปลายราวกั้นเตียง หมายถึง ช่องว่างระหว่างใต้ปลายราวกั้นเตียงกับฟูก อาจทาให้คอของผู้ป่วยเข้าไปติดได้ จึงควรมีความกว้างน้อยกว่า 6 เซนติเมตรทั้งนี้ ขึ้นกับความหนาของฟูกซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามระยะเวลาการใช้งาน 
   7.5 ช่องว่างระหว่างคู่ของราวเตียง หมายถึง ช่องว่างระหว่างปลายราวกั้นเตียงของแต่ละคู่ที่อยู่ฝั่งเดียวกัน ช่องว่างนี้อาจทาให้ลาตัวหรือคอของผู้ป่วยติดได้ 
   7.6 ช่องว่างระหว่างราวกั้นเตียงกับส่วนหัวหรือส่วนท้ายเตียง อาจทาให้คอหรือลาตัวของผู้ป่วยติดได้ 
   7.7 ช่องว่างระหว่างหัวหรือท้ายเตียงกับฟูก อาจทาให้ศรีษะผู้ป่วยติด

ข้อกำหนดด้านประสิทธิภาพ
เตียงผู้ป่วยเป็นครุภัณฑ์ทางการแพทย์ที่ผู้ป่วยใช้พักฟื้นระหว่างการรักษา โดยมีกลไกในการปรับองศาของหลัง ขาและเข่า และความสูงต่าของเตียง มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันแผลกดทับในคน...

แนวทางการพิจารณาการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ ดังนี้ 
1. ผู้นำเข้า ต้องมีหนังสือรับรองการขาย จาก อย. 
2. โรงงานผู้ผลิต ต้องได้รับมาตรฐาน...
    ซึ่งหากสนใจที่ต้องการเรียนรู้เเละเลือกซื้อเตียงผู้ป่วยเเบบไหมสามารถที่จะเข้าไปคลิกได้ที่ https://goo.gl/Eq4FzP


ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

จดทะเบียนบริษัทด้วยตนเองต้องจดอย่างไร

 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการ จดทะเบียนบริษัท ผู้สอบบัญชี ในการดำเนินการจัดตั้งบริษัทจำกัดจะต้องมีการดำเนินการตามขั้นตอนอย่างถูกต้อง โดยเริ่มจากการรวบรวมผู้ก่อการตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป เข้าชื่อร่วมกันจัดทำหนังสือบริคณห์สนธิ หลังจากนั้นผู้เริ่มก่อการมีการจัดให้ผู้เข้าจองซื้อหุ้นจนครบตราจำนวนหุ้น จดทะเบียนบริษัท ผู้สอบบัญชี จนครบตามจำนวนหุ้น จัดประชุมจัดตั้งบริษัทโดยมีการส่งหนังสือเรียนเชิญประชุมให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า 7 วัน ก่อนวันประชุม จดทะเบียนบริษัท ผู้สอบบัญชี ทำการแต่งตั้งกรรมการผู้มีอำนาจของบริษัทในการดำเนินกิจกรรมของบริษัท เรียกชำระค่าหุ้นต่อผู้ถือหุ้นอย่างน้อยร้อยละ 25% ของมูลค่าหุ้น หลังจากนั้นจะต้องดำเนินการยื่นคำขอจดทะเบียนภายใน 3 เดือน หลังจากการประชุมจัดตั้งบริษัท ถือเป็นอันเสร็จสิ้นข้อมูลในการ จดทะเบียนบริษัท ผู้สอบบัญชี จดทะเบียนบริษัท ผู้สอบบัญชี คืออะไร จำเป็นหรือไม่ การ จดทะเบียนบริษัท ผู้สอบบัญชี นั้นมีความจำเป็นหรือไม่ สำหรับเรื่องนี้ท่านผู้ประกอบการหลายๆ ท่านอาจจะยังไม่ทราบว่าในการจดทะเบียนบริษัทนั้นจะต้องมีการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีประจำปีไว้ด้วยโดยเป็นข้อมูลส่วนหนึ่ง...

รู้จักพอด : บุหรี่ไฟฟ้า คืออะไร?

  พอดบุหรี่ไฟฟ้า ถือว่าเป็นตัวแท้งค์บุหรี่ไฟฟ้าที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในหมู่คนที่สูบบุหรี่  หลังจากที่บุหรี่ไฟฟ้ากลับมานิยมกันในช่วงระยะเวลาหนึ่ง พอดจึ่งได้รับความสนใจเป็นอย่างมากเลยที่เดี่ยวแต่อย่างไรก็ตามเดี่ยวนี้แม้ว่าพอดหรือบุหรีไฟฟ้า เป็นสิ่งที่ผิดกฎหมายแต่อย่างไรก็ตามก็ไม่ได้หนักอะไรมากหนัก เพราะเราสามารถที่จะซื้อสินค้ามาสูบได้     ซึ่งบุหรี่ไฟฟ้านั้นมันจะมีตัวแท้งที่เป็นกล่องที่บรรจุตัวน้ำยา หรือที่เราเรียกว่า  พอด  นั้นเอง และมีน้ำยาบุหรี่ไฟฟ้าตัวแบตที่สามารถเปลี่ยนจุให้เป็นกระแสไฟฟ้า อย่างตัวอย่างที่เห็นได้เกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้า ดังเช่นตัว พอด นี้.   http://www.vapehadyshop.com/product/%e0%b8%9e%e0%b8%ad%e0%b8%94-pod/ แล้วมีหลากหลายรสที่เป็น น้ำยาบุหรี่ไฟฟ้า ที่เราสามารถเติมมีหลากหลายรส มีหลากหลายกลิ่นให้เราสามารถเลือกสูบได้  http://www.vapehadyshop.com/product/%e0%b8%99%e0%b9%89%e0%b8%b3%e0%b8%a2%e0%b8%b2%e0%b8%9f%e0%b8%a3%e0%b8%b5%e0%b9%80%e0%b8%9a%e0%b8%aa-%e0%b8%8b%e0%b8%b2%e0%b8%a1%e0%b8%b9%e0%b9%84%e0%b8%a3%e0%b8%ad%e0...

เมนูอาหารที่ราคาชุดละไม่เกิน 1500 ทางเลือกสำหรับคนที่ต้องการรับประทานอาหาร “จีน”

อาหารจีน คือ อาหารของชาวจีน วัฒนธรรมอาหารจีน แพร่หลายทั่วโลก อาหารจีนที่นิยม สูตรอาหารจีน เมนูอาหาร สำหรับวันนี้ อาหารที่ทำง่ายๆ สามารถทำกินเองที่บ้านได้ เมนูต้ม เมนูผัด เมนูแกง เมนูทอด ชื่ออาหารจีน หลากหลายวัตถุดิบ เมนูหมู เมนูเห็ด เมนูเป็ด เมนูไก่ เมนูปลา เมนูกุ้ง เมนูปลาหมึก เอาใจคนรักอาหารจีน   รายการอาหาร หลากหลายวัตถุดิบ เมนูหมู เมนูเห็ด เมนูเป็ด เมนูไก่ เมนูปลา เมนูกุ้ง เมนูปลาหมึก เอาใจคนรักอาหารจีน พร้อมด้วยเคล็ดลับความอร่อยจากต้นตำรับ อาหารจีนที่ทำกินเองแบบง่ายๆ เมนูอาหารจีน ส่วนรายการที่เขามักจะจัดโต๊ะจีนกันนั้นมีหลากหลายเมนู เเถมด้วยว่าการ รับจัดโต๊ะจีน ถือว่าเป็นอาหารที่มีรสชาติอร่อยเป็นอย่างมากอย่างเเน่นอน ซึ่งมีหลากหลายเมนูที่เราสามารถรับประทานอาหารเเบบทำกินเองอย่างง่ายๆ อย่างเช่น รายการอาหารโต๊ะจีน ราคา 1,500 บาท ก็จะมี 1. ข้าวเกรียบ + ถั่วอบเนย 2. ออร์เดิร์ฟ ขนมจีบ แฮม จ๊อ นักเก็ตไก่ สับปะรด 3. ปลาทับทิม นึ่งมะนาว-สามรส ปลาช่อนลุยสวน 4. เป็ดพะโล้ หรือ ไก่นึ่งน้ำจิ้มซีฟู้ด 5. ต้มยำรวมมิตร 6. กระเพาะปลาเนื้อปู 7. ข้าวผัดปู หรือ ข้าวผัดแฮม 8. ขนมหวาน ทับทิมกรอบ...