ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

ข้อยกเว้นเกี่ยวกับการต่อเติมบ้าน

การต่อเติมบ้านถือว่าเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับใครก็ตามที่ต้องการต่อเติมบ้าน เพราะว่าการต่อเติมบ้านนั้นเป็นอะไรที่สามารถให้เราได้สบายใจมากยิ่งขึ้นเมื่อครั้นที่เราเลิกงาน เเล้วกลับมายังบ้าน ได้เห็นสิ่งที่เเปลกใหม่ ยกตัวอย่างง่ายๆ นั้นคือบ้านเราเป็นบ้านที่ทรุดโทรม เเต่เมื่อเวลาที่เราเลิกงานเเล้วเเน่นอนว่าการต่อเติมบ้านนั้นสามารถที่จะพยุงเราในเเง่ความคิดเราได้ไม่มากก็น้อย
เเต่การต่อเติมบ้านนั้นอย่างน้อยมันต้องเลือกรายการหลากหลายอย่าง เพื่อที่เราสามารถที่จะต่อเติมบ้านอย่างเช่น การต่อเติมบ้านหลักเกณฑ์ต่างๆในการต่อเติมบ้าน อย่างเช่น
เรามีงบประมาณเท่าไหร่ในการที่จะต่อเติมบ้าน เเล้วเรามีเเพลนอย่างไรในการต่อเติมบ้านในเเต่ละครั้ง เเน่นอนว่าสิ่งเหล่านี้สามารถที่มันถือว่าเป็นข้อคำนึงหรือหลักเกณฑ์อย่างหนึ่งเพื่อให้เราสามารถที่จะเลือกต่อเติมบ้าน
การต่อเติมบ้านนั้นต้องมีหลักเกณฑ์ในการเลือกว่าเราต้องการเลือกต่อเติมบ้านได้อย่างไร อย่างเช่น

ข้อยกเว้นที่ไม่ต้องขออนุญาต นอกนั้นอาจจะเป็นทางเลือกสำหรับคนที่ต้องการเลือกต่อเติมบ้าน

การต่อเติมบางเรื่องเป็นเรื่องของการซ่อมแซม หรือเป็นเรื่องเล็กน้อย ซึ่งกฎหมายก็อนุโลมว่าไม่ต้องขอ หรือแจ้งเจ้าพนักงานครับ ซึ่ง 5 เรื่องที่เป็นข้อยกเว้น และสามารถทำได้เลยมีดังต่อไปนี้ (ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 11 พ.ศ. 2528)

การขยาย (หรือลด) เนื้อที่ของพื้นที่ชั้น ในชั้นใดชั้นหนึ่งรวมกันไม่เกิน 5 ตารางเมตร และไม่มีการเพิ่ม (หรือลด) จำนวนเสาหรือคาน ตัวอย่างเช่น เดิมพื้นบ้านเป็นพื้นเรียบๆ ต้องการเจาะเป็นช่องเพื่อระบายอากาศ อย่างนี้ไม่ต้องยื่นขออนุญาต

การขยาย (หรือลด) เนื้อที่ของหลังคา ให้มีเนื้อที่มากขึ้นรวมกันไม่เกิน 5 ตารางเมตร และไม่มีการเพิ่ม (หรือลด) จำนวนเสาหรือคาน เช่น การทำหลังคาคลุมดาดฟ้าโดยยื่นจากเดิมออกไปโดยรวมแล้วเป็นการเพิ่มเนื้อที่ออกไปไม่เกิน 5 ตารางเมตร และไม่ทำให้คานและเสาเดิมต้องรับน้ำหนักเพิ่มเกินร้อยละสิบ อย่างนี้ก็ไม่ต้องยื่นขออนุญาต

การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอาคาร เช่น เสา คาน หรือฐานราก และโครงสร้างนั้นไม่ใช่คอนกรีตเสริมเหล็ก คอนกรีตอัดแรง หรือเหล็กโครงสร้างรูปพรรณ โดยการเปลี่ยนแปลงนั้นใช้วัสดุ ขนาด จำนวน และชนิดเดียวกับของเดิม ดังนั้น ถ้าโครงสร้างอาคารที่เราเปลี่ยนเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก คอนกรีตอัดแรง หรือเหล็กโครงสร้างรูปพรรณ เราจะต้องขอ หรือแจ้งเจ้าพนักงานเสมอแม้ขนาด จำนวน วัสดุ หรือชนิดเสา หรือคานที่เป็นโครงสร้างนั้นจะเหมือนเดิมทุกอย่างก็ตาม แต่หากโครงสร้างของอาคาร เดิม คือเสา คาน ไม้ หากโครงสร้างเหล่านี้ชำรุด เช่น ปลวกขึ้น ทำให้ไม้ผุ จำเป็นต้องเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ การเปลี่ยนแปลง โดยใช้ไม้เช่นเดิม จำนวนและขนาดเท่าเดิมไม่ถือเป็นการดัดแปลงอาคาร

การเปลี่ยนส่วนใดๆก็ตามในบ้านที่ไม่ใช่ส่วนที่เป็นโครงสร้างอาคาร โดยใช้วัสดุชนิดเดียวกับของเดิม หรือวัสดุชนิดอื่นซึ่งไม่เป็นการเพิ่มน้ำหนักให้แก่โครงสร้างของอาคารเดิมเกิน 10% ของน้ำหนักเดิม เช่น การทำฝาผนัง หรือพื้นบ้าน เป็นต้น ในกรณีที่ต้องการจะเปลี่ยนพื้นบ้าน ซึ่งเดิมเป็นพื้นไม้ปาร์เก้ อยากเปลี่ยนเป็นพื้นหินอ่อน หินแกรนิต ก็ต้องคำนวณน้ำหนักว่าเพิ่มขึ้นกว่าเดิมเกินร้อยละสิบหรือไม่ หากไม่เกินก็ไม่เป็นไร แต่หากเกินก็ต้องยื่นขออนุญาต ปัญหาอยู่ที่ว่าถ้าคำนวณน้ำหนักด้วยตนเองไม่เป็น กรณีแบบนี้ เราอาจต้องให้วิศวกรเข้ามาช่วย เพราะหากน้ำหนักเพิ่มขึ้นมากก็จะทำให้โครงสร้างอาคารต้องรับน้ำหนักเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย ซึ่งจะก่อให้เกิดอันตรายภายหลังได้

การเปลี่ยน ต่อเติม เพิ่ม ลด หรือขยายซึ่งลักษณะ ขอบเขต แบบ รูปทรง สัดส่วน น้ำหนัก หรือเนื้อที่ส่วนใดๆ ก็ตามในบ้านที่ไม่ใช่ส่วนที่เป็นโครงสร้างอาคาร ในข้อนี้จะไม่แตกต่างจากข้อก่อนหน้านี้มากนัก เพราะในข้อนี้จะเกี่ยวกับเรื่องการเปลี่ยนแบบ เปลี่ยนสไตล์ของพื้นที่เล็กๆ น้อยๆ ภายในบ้าน และไม่ก่อให้เกิดน้ำหนักเพิ่มแต่ประการใด เช่น การเปลี่ยนจากประตูไม้ เป็นประตูกระจก หรือการเปลี่ยนหน้าต่าง เปลี่ยนลายกระเบื้อง ฝ้า เพดน กรณีเช่นนี้ไม่จำเป็นต้องยื่นขออนุญาต แต่ถ้าหากการเปลี่ยนอุปกรณ์เหล่านั้น ทำให้น้ำหนักเพิ่มขึ้นมากจนเกิน 10% ของน้ำหนักเดิม ก็จำเป็นต้องอนุญาต เพื่อไม่ให้ผิดกฎหมายเช่นกัน

อ่านหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการต่อเติมบ้านเพิ่มเติมได้ที่ http://www.tortermthai.com/

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

เรื่องเตียงเป็นเรื่องที่เขากำหนด เตียงผู้ป่วยมาตรฐานที่คุรุเเพทย์กำหนด

 โดยทั้วไปเเล้วคนเราไม่ค่อยจะให้เรื่องความสำคัญเกี่ยวกับเรื่องเตียงผู้ป่วยมากหนัก เพราะเป็นเรื่องของทางโรงพยาบาลที่เขาได้กำหนดเรื่องเตียงให้เราอยู่เเล้วว่าเตียงผู้ป่วยเเต่ละเตียงนั้นเขาต้องมีมาตรฐานเท่าไหร่    อย่างบทความนี้ผมจะเขียนว่ามาตรฐานที่ทางโรงพยาบาลนั้นกำหนดจะต้องเป็นลักษณะเตียงอย่างไร   ซึ่งทางคุรุภัณฑ์ทางการเเพทย์นั้นได้กำหนดว่าเตียงผู้ป่วยดังนี้   ข้อกำหนดด้านความปลอดภัย (Safety) เตียงผู้ป่วยจัดเป็นครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ซึ่งมีการออกแบบเป็นพิเศษเพื่อให้ผู้ป่วยฟักฟื้น และเคลื่นย้ายผู้ป่วยระหว่างการรักษา ซึ่งหากมีข้อบกพร่องอาจส่งผลเสียต่อผู้ป่วยได้ ในปี 2002  มีรายงานจานวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุที่มีอวัยวะติดในส่วนประกอบของเตียงของประเทศสหรัฐอเมริกามีสูงถึง 116 ราย จึงต้องพิจารณาประเด็นหลักด้านความปลอดภัย 3 ประเด็น ได้แก่ ความแข็งแรงของเตียง (วัสดุที่ใช้ผลิตและโครงสร้างของเตียง) ขนาดที่เหมาะสมกับผู้ป่วย และโอกาสในการเกิดอุบัติเหตุกับร่างกายผู้ป่วย  (อาทิ การตกเตียง หรือมีอวัยวะติดในช่องว่างของเตียง) ดังนั้น การออกแบบเตียงจึงพ...

เคล็ดลับดีๆสำหรับผู้ที่ต้องการเลือกของที่ระลึกมอบให้คนที่เรานับถือ

         อีกไม่กี่วันข้างหน้าวันสงกรานต์ก็จะมาถึงแล้ว แน่นอนสำหรับคนที่ทำงานที่ กทม   น่าจะได้กลับบ้านเยี่ยมบ้านหลายต่อหลายคนอย่างแน่นอน   ถนนที่ กทม น่าจะโล่งเด็กแว้นส์นักบิดน่าจะยิ้มร่าอย่างแน่นอน กลับกันสำหรับคนที่ต้องการกลับบ้านคงจะกลับบ้านแบบมือเปล่าคงต้องอายที่บ้านอย่างแน่นอน อย่างน้อยต้องซื้ออะไรเป็นของฝากไม่ว่าจะเป็นครอบครัวพ่อแม่หรือแม้กระทั่งคนที่เรานับถืออย่างครูบาอาจารย์เพราะวันสงกรานต์ถือเป็นวันที่สำคัญตามประเพณีคนไทยเรา          วันนี้เราจะมากล่าวถึงการซื้อของฝากที่เป็น ของที่ระลึกงานเกษียณ หรือ ของที่ระลึกไทย เพื่อมอบให้คนทางบ้านในวันดังกล่าว    อย่างแรกเลย การเลือกของฝากที่เป็นของที่ระลึกที่เป็นของไทยเพื่อเป็นของที่ระลึกให้กับคนในครอบครัวนั้น   อย่างน้อยผู้เขียนเองมองว่าควรที่จะเป็นของที่ระลึกที่เป็นแบบไทยๆ   อาจจะเป็นกรอบรูปรัชกาลที่ 9   ทั้งนี้มันสื่อถึงประเพณีของความเป็นไทยเราอย่างเด่นชัดเลย   ซึ่งการเลือกของที่ระลึกไทยเหล่านี้หากเราไม่รู้ว่าจะซื้อที่ไหนแล้ว ...

จดทะเบียนบริษัทด้วยตนเองต้องจดอย่างไร

 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการ จดทะเบียนบริษัท ผู้สอบบัญชี ในการดำเนินการจัดตั้งบริษัทจำกัดจะต้องมีการดำเนินการตามขั้นตอนอย่างถูกต้อง โดยเริ่มจากการรวบรวมผู้ก่อการตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป เข้าชื่อร่วมกันจัดทำหนังสือบริคณห์สนธิ หลังจากนั้นผู้เริ่มก่อการมีการจัดให้ผู้เข้าจองซื้อหุ้นจนครบตราจำนวนหุ้น จดทะเบียนบริษัท ผู้สอบบัญชี จนครบตามจำนวนหุ้น จัดประชุมจัดตั้งบริษัทโดยมีการส่งหนังสือเรียนเชิญประชุมให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า 7 วัน ก่อนวันประชุม จดทะเบียนบริษัท ผู้สอบบัญชี ทำการแต่งตั้งกรรมการผู้มีอำนาจของบริษัทในการดำเนินกิจกรรมของบริษัท เรียกชำระค่าหุ้นต่อผู้ถือหุ้นอย่างน้อยร้อยละ 25% ของมูลค่าหุ้น หลังจากนั้นจะต้องดำเนินการยื่นคำขอจดทะเบียนภายใน 3 เดือน หลังจากการประชุมจัดตั้งบริษัท ถือเป็นอันเสร็จสิ้นข้อมูลในการ จดทะเบียนบริษัท ผู้สอบบัญชี จดทะเบียนบริษัท ผู้สอบบัญชี คืออะไร จำเป็นหรือไม่ การ จดทะเบียนบริษัท ผู้สอบบัญชี นั้นมีความจำเป็นหรือไม่ สำหรับเรื่องนี้ท่านผู้ประกอบการหลายๆ ท่านอาจจะยังไม่ทราบว่าในการจดทะเบียนบริษัทนั้นจะต้องมีการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีประจำปีไว้ด้วยโดยเป็นข้อมูลส่วนหนึ่ง...